Portfolio courses for children to experience science first semester academic 2013
วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
การเข้าเรียนครั้งที่ 7
***อบรมการผลิตสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย***
สื่อของเด็กปฐมวัย
การนำความต้องการจากผู้ส่งไปยังผู้รับเพื่อให้เกิดผลตาม
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
3. เลือกให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมท้องถิ่นที่เด็กอาศัยอยู่
การจัดหาสื่อ
ประเภทสื่อของเด็กปฐมวัย
1. สื่อการสอนประเภทวัสดุ
2. สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
3. สื่อการสอนประเภทวิธีการ
การเลือกสื่อ มีวิธีการดังนี้
1. เลือกให้ตรงกับจุดมุ่งหมายและเรื่องที่สอน
2. เลื่อกให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก
การจัดหาสื่อ
1. จัดหาโดยการของยืมจากแหล่งต่างๆ
2. จัดซื้อสื่อ
3. ผลิตขึ้นเอง
การใช้สื่อ
ในการใช้สื่อการสอนทุกครั้ง ต้องมีการเตรียมความพร้องของสื่อ
ก่อนที่จะนำไปใช้ โดยมีขั้นตอนดังนี้คือ
1. เตรียมครูผู้สอน
2. เตรียมตัวเด็ก
3. เตรียมสื่อ
การนำเสนอสื่อ
1. เร้าความสนใจเด็กด้วยคำถามก่อน
2. ใช้สื่อดำเนินกิจกรรมตามลำดับขั้นตอนที่วางแผนไว้
3. ไม่ควรให้เด็กเห็นสื่อก่อน เพราะอาจทำให้เด็กหมดความสนใจ
การดูแล การเก็บรักษาสื่อ
1. เก็บให้เป็นระเบียบตามประเภทของสื่อ
2. วางสื่อไว้ในระดับสายตาเด็ก เพื่อที่เด็กสามารถหยิบใช้ง่าย
3. เก็บสื่อไว้ในภาชนะที่โปร่งใส เพื่อให้เด็กมองเห็นสื่งที่อยู่
ข้างใน และควรมีขนาดพอเหมาะที่เด็กสามารถขนย้ายได้
4. ฝึกให้เด็กรู้ความหมายของรูปภาพ สี สัญลักษณ์แทนหมวด
หมู๋ ประเภท เพื่อให้เด็กสามารถเก็บได้อย่างถูกต้อง
5. ตรวจสอบสภาพสื่อทุกครั้งหลังใช้เสร็จ
6. ซ่อมแซมสื่อที่ชำรุด และเติมส่วนที่ขาดหายไป
การประเมินสื่อ พิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้สอน
เด็ก และสื่อ ใช้วิธีการสังเกตดังนี้
1. สื่อนั้นช่วยให้เด็กเรียนรู้มากเพียงใด
2. เด็กชอบสื่อนั้นมากเพียงใด
3. สื่อนั้นช่วยให้การสอนตรงกับจุดประสงค์มากหรือไม่ ถูกต้อง
ตามสาระการเรียนรู้และทันสมัยหรือไม่
4. สื่อนั้นช่วยให้เด็กสนใจมากน้อยเพียใด เพาระเหตุใด
วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
การเข้าเรียนครั้งที่ 5
การเรียนการสอน
อาจารย์ให้เพื่อนนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
*** หมายเหตุ ไม่ได้เข้าเรียน
วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
การเข้าเรียนครั้งที่ 4
การเรียนการสอน
อาจารย์เปิด VDO เรื่องอากาศที่เกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้ดูหลังจากนั้นอาจารย์แจกกระดาษให้โยพับกระดาษเป็น 8 แผ่น แล้วแม็กติดกัน อาจารย์สั่งให้วาดภาพใส่แผ่นกระดาษจำนวน 8 แผ่น โดยภาพที่วาดต้องสอดคล้องกันเพิ่มภาพที่ละอย่างจนกระดาษแผ่นสุดท้ายเป็นภาพวาดที่เเสร็จสมบูรณ์ เป็นภาพแบบต่อเนื่อง
คือ ส่วนผสมของก๊าซต่าง ๆ และไอน้ำซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ ก๊าซไนโตรเจน และก๊าซออกซิเจน นอกนั้นเป็นก๊าซอื่น ๆ ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนน้อย อากาศมีอยู่รอบ ๆ ตัวเราทุกหนทุกแห่ง ทั้งบนยอดสูงสุดของภูเขาและในที่จอดรถใต้ดิน อากาศมีอยู่ในบ้าน มีอยู่ในโรงเรียนและในรถยนต์ อากาศไม่มีสี ไม่มีรสชาติ และไม่มีกลิ่น
บรรยากาศคืออะไร
บรรยากาศคือ ชั้นของอากาศที่ล้อมรอบโลกและด้วยแรงดึงดูดของโลกทำให้บรรยากาศคงสภาพอยู่ได้ บรรยากาศมีความหนา 310 ไมล์ และมีถึง 4 ชั้น นักวิทยาศาสตร์แบ่งบรรยากาศออกเป็น 4 ชั้น ตามอุณหภูมิ ชั้นแรกมีชื่อเรียกว่า โทรโพสเฟียร์ (Troposhere) ชั้นสูงถัดจากโทรโพสเฟียร์ คือ ชั้นสตราโตสเฟียร์ (Stratoshere) เมโสสเฟียร์ (Mesosphere) และชั้นบนสุดคือ เทอร์โมสเฟียร์ (Thermoshere) อากาศในบรรยากาศแต่ละชั้นจะแตกต่างกัน แต่ในทุก ๆ ชั้นล้วนเป็นส่วนสำคัญของสิ่งแวดล้อมของโลก
บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์
เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด มีความหนาประมาณ 12 กิโลเมตร เมฆ พายุ ลม และลักษณะอากาศต่าง ๆ เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นนี้ อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้จะเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งและรวดเร็วกว่าบรรยากาศชั้นอื่น ๆ
บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์
บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ อยู่เหนือขึ้นไปจากบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ มีความสูงของชั้นบรรยากาศประมาณ 50 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นนี้มีก๊าซโอโซนเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย และก๊าซโอโซนนี้เองที่ทำหน้าที่ดูดซับรังสีอุลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นรังสีอันตรายต่อผิวหนังของมนุษย์และพืช ไม่ให้ส่องลงมากระทบถึงพื้นโลก
บรรยากาศชั้นเมโสสเฟียร์
เมโสสเฟียร์อยู่เหนือบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ และอยู่สูงขึ้นไปไม่เกิน 85 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นเมโสสเฟียร์เป็นชั้นที่มีอุณหภูมิต่ำสุด สะเก็ดดาวเป็นทางยาวจะปรากฎให้เห็นในระดับบน ๆ ของบรรยากาศชั้นเมโสสเฟียร์นี้
บรรยากาศชั้นเทอร์โมสเฟียร์
ชั้นบรรยากาศเทอร์โมสเฟียร์เริ่มในระดับ 85 กิโลเมตร เหนือพื้นโลกและสูงขึ้นไป ๆ จนจางหายไปในอากาศ อากาศกว่า 99% ของเราอยู่ใต้บรรยากาศชั้นเทอร์โมสเฟียร์ อากาศในชั้นนี้บางมาก และเพราะอากาศบางนี้เองที่ทำให้ได้รับผลกระทบจากแสงอาทิตย์แรงมาก จนมีผลทำให้อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้สูงมาก
เครื่องบินที่บินอยู่ในบรรยากาศจะบินอยู่ในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ เพื่อจะได้อยู่เหนือหิมะ พายุฝน และลมแรง
อากาศเป็นตัวนำคลื่นเสียง ถ้าไม่มีอากาศเราจะไม่ได้ยินเสียงดนตรี เสียงสุนัขเห่า หรือเสียงคนพูดคุยกัน อากาศยังใช้เคลื่อนย้ายสิ่งต่าง ๆ อากาศทำให้เรือใบแล่นข้ามทะเลสาบ ทำให้ใบกังหันของกังหันลมในท้องนาหมุน เราใช้อากาศในการเล่นว่าว เป่าลูกโป่ง และสูบลมลูกบอล เราทุกคนต่างใช้อากาศทำกิจกรรมต่าง ๆ มากมายในแต่ละวัน
มนุษย์หายใจเอาอากาศเข้าไปเพื่อมีชีวิตอยู่รอด เราทุกคนสามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้เพียง 2-3 นาที เท่านั้นหากขาดอากาศหายใจ อากาศช่วยค้ำจุนชีวิตของพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในโลก อากาศในชั้นบรรยากาศยังช่วยปก
ความรู้เพิ่มเติม
อากาศ
บรรยากาศ
เป็น

บรรยากาศ
เมโสสเฟียร์อยู่
ชั้น
เครื่องบิน
อากาศ
มนุษย์